Constipation
ผู้ป่วยมักจะมาด้วย
อาการไม่สบายท้อง ท้องอืด เบ่งอุจจาระไม่ออก รู้สึกถ่ายไม่สุด
ซึ่งการวินิจฉัยอาศัย
Rome criteria ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไปในการวินิจฉัย ได้แก่ มีอาการอุจจาระแข็ง ต้องเบ่ง ถ่ายไม่สุด >
25% ของเวลาทั้งหมด ถ่าย < 3 ครั้งต่อสัปดาห์ และถ้าเป็น > 12 สัปดาห์ใน 12 เดือนถือว่าเป็น
chronic constipation
ซักประวัติและตรวจร่างกายหาสาเหตุได้แก่
Acute causes
- Life style เช่น ไม่ได้ออกกำลังกาย กินน้ำน้อย กิน fiber น้อย)
- Gut obstruction เช่น tumors, stricture, hernia, adhesion, inflammation, volvulus
- ยา เช่น nacrotic, antipsychotic, antacid, antihistamine
- Painful defecation เช่น anal fissure, hemorrhoid, anorectal abscess, proctitis
- Endocrine เช่น hypothyroid, hyperparathyroidism, DM
- Neurologic เช่น neuropathy, parkinson, cerebral palsy, paraplegia
- Electrolyte เช่น hypomagnesia, hypercalcemia, hypokalemia
- Rheumatologic เช่น amyloidosis, scleroderma
- Toxicologic เช่น lead, iron
การรักษา
- ในรายที่มี fecal impaction ให้รักษาโดยการทำ manual evacuation (อาจให้ยา sedation ด้วยเพราะปวดมาก) เพราะการทำ rectal enema มักไม่ค่อยได้ผล
- จำเป็นต้องเปลี่ยน lifestyle ร่วมด้วย เพราะการใช้ยาอย่างเดียวจะไม่ได้ผล ได้แก่ อาหาร (ผัก ผลไม้ ธัญพืช) ต้องได้ fiber 10 กรัมต่อวัน น้ำ 1.5 ลิตรต่อวัน ลดนม/ชา/กาแฟ/สุรา ออกกำลังกาย
- ยาระบายที่มักจะเลือกใช้เป็นอับดับแรก ได้แก่ ยากลุ่ม saline laxative เช่น MOM 15-30 mL OD/BID และยากลุ่ม osmotic เช่น lactulose 15-30 mL OD/BID
- ยากระตุ้นลำไส้ (stimulant) มักเลือกใช้ระยะสั้นในคนที่ immobilization หรือใช้ osmotic แล้วไม่หาย ได้แก่ senna (senokot®) 2 tab OD/BID, bisacodyl (dulcolax®) 10 mg PR TID
ยาระบายมีหลายกลุ่มได้แก่
|
Ref: Tintinalli ed8th, medscape 2013
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น