Pressure-induced skin and soft tissue
injuries
- แผลกดทับ เกิดจาก
- ปัจจัยภายนอก
ได้แก่ pressure,
shearing forces, friction, moisture
- ปัจจัยภายใน ได้แก่ immobility,
incontinence, compromised nutritional status, decrease skin perfusion
- ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิด pressure
injury โดยใช้ Braden scales
- NPUAP staging
- Stage 1: Non-blanchable erythema ของ intact skin
- Stage 2: Partial thickness skin loss
(epidermis, dermis)
- Stage 3: Full thickness skin loss (SQ,
fat)
- Stage 4: Full thickness skin loss (fascia,
muscle, tendon, ligament, cartilage, bone)
- Unstageable คือ แผลที่ปกคลุมด้วย slough หรือ eschar ซึ่งถ้า remove
ออกจะเห็นเป็น full thickness skin loss
- Deep tissue pressure injury
คือ persistent non-blanchable,
deep red, maroon, purple discoloration หรือ epidermal separation ที่เห็นเป็น dark wound bed หรือ blood filled blister
- General
Tx:
- Pain control: ทำการประเมินอย่างต่อเนื่อง และให้การรักษา โดยเฉพาะระหว่างการทำ wound dressing และ debridement เช่น PO/IV analgesic, topical local anesthetic, ibuprofen-releasing foam dressing, conscious sedation/GA
- Infection: รักษาถ้ามีร่วมด้วย ดูด้านล่าง
- Nutrition: ปรึกษา nutritionist; ให้ protein (1.5 g/kg/d) และ caloric intake (> 30 kcal/kg) อย่างเพียงพอ โดยเฉพาะใน stage 3-4 pressure injuries
- Pressure redistribution: จัดท่าที่เหมาะสม ลดแรงกดต่อเนื้อเยื่อให้มากที่สุด เปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง แนะนำให้ใช้ support surface หรือ powered surface (ถ้าไม่มีปัญหาเรื่องการเงิน) เช่น air-fluidized beds ในรายที่แผลมีขนาดใหญ่หรือมีหลายแผล
- อื่นๆ
ได้แก่ psychosocial
support
- Wound care
- Stage 1: เน้นที่การป้องกัน (ดู prevention ด้านล่าง) ผิวหนังที่บาดเจ็บให้ติดด้วย transparent film
- Stage 2: ทำแผลด้วย semiocclusive (transparent film) หรือ occlusive dressing (hydrocolloids, hydrogels) [ถ้าไม่มี infection] เพื่อทำให้เกิด moist wound environment (ไม่ทำ wet-to-dry dressing)
- Stage 3-4: รักษา wound infection, necrotic tissue surgical debridement (ยกเว้น stable eschar ที่ heel), dressing; surgery ใน full-thickness wounds
- Wound dressing ขึ้นกับลักษณะของแผล เช่น ถ้ามี exudate มากให้ใช้ foams หรือ alginate; แผลแห้งใช้ saline-moistened gauze, transparent film, hydrocolloids, hydrogel
- Monitoring ติดตามทุกวัน ได้แก่ healing scales (เช่น the Pressure Ulcer Scale for Healing (PUSH) tool), dressing status, surrounding area status, pain status, possible complication (เช่น infection)
- Infection complication
- Superficial infection จะมาด้วย poor healing superficial ulcer มี drainage มากขึ้น ไม่มี erythema รอบแผล และไม่มี systemic symptoms; Tx: wound care, ทดลองใช้ topical antiseptic (1% silver sulfadiazine) ถ้าไม่ดีขึ้นใน 2-4 สัปดาห์ ให้ประเมินซ้ำ อาจทำ soft tissue biopsy (culture), MRI (osteomyelitis)
- Soft
tissue infection ได้แก่ cellulitis,
deeper tissue infection (deep ulcer with necrotic muscle, undermined tissue,
sinus tract, systemic symptoms); Tx:
debridement, ATB
- Osteomyelitis สงสัยในรายที่เป็น non-heal ulcer, bone exposure, recurrent soft tissue infection ให้ทำ MRI และทำ bone biopsy
- Empirical ATB
- Mild cellulitis เช่น (bactrim 2 double-strength q 12 h + amoxicillin-clavulanate 875/125 mg q 12 h) หรือ (clindamycin 300 mg PO TID + levofloxacin 500 mg OD) x 5-14 วัน
- Severe cellulitis, deeper soft tissue infection เช่น vancomycin 15-20 mg/kg q 8-12 h + piperacillin-tazobactam 4.5 g IV q 6-8 h
- Osteomyelitis ให้เหมือน deeper soft tissue infection ให้นาน 6 สัปดาห์
- Prevention
- Positioning: ใน bed-bound ได้แก่ รองหมอนระหว่างข้อเท้าและเข่า (ป้องกัน heel), เมื่อนอนตะแคงให้เอียง < 30o (ป้องกัน greater trochanter), ยกศีรษะสูง < 30o
- Repositioning: ใน bed-bound ให้เปลี่ยนจากท่านอนหงาย-ตะแคงสลับข้าง ทุก 2 ชั่วโมง ทำด้วยความนุ่มนวล ไม่ให้เกิดแรงครูดกับผิวหนัง ใน chair-bound ให้เปลี่ยนตำแหน่งอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง (tilt seat, wheelchair pushup)
- Support surface ในรายที่มีความเสี่ยงได้แก่ foam, gel supports, air-fluidized beds
- อื่นๆ ได้แก่ เพิ่ม mobility (เช่น physical therapy, ลด sedation, แก้ไข spasticity), เพิ่ม skin perfusion, skin care (รักษาผิวหนังให้สะอาดและแห้ง ใช้ pH-balanced cleaning agent ทา lotion ที่มีส่วนประกอบของ fatty acid เพื่อลดความเสียดสีที่ sacrum), ติด multilayer foam dressing ป้องกันการเกิดแผล, แก้ไข malnutrition
Ref: Up-To-Date
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น