วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

Rhabdomyolysis

สาเหตุ เรียงตามลำดับที่พบบ่อย ได้แก่ alcohol, drugs (substance abuse, medications: antipsychotics, antidepressants, opioid, BZDs, clofibrate, colchicine, corticosteroids, INH, lithium, neuroleptics, propofol, salicylates, theophylline, zidovudine, CMT), muscle diseases, trauma, NMS, seizures, immobility, infection, strenuous  physical activity, heat-related illness

ประวัติ: ปวดกล้ามเนื้อเฉียบพลัน อ่อนแรง เป็นตะคริว รู้สึกไม่สบาย ไข้ต่ำๆ ปัสสาวะสีเข้ม (น้ำตาล) บางรายอาจไม่มีอาการผิดปกติ แต่สงสัยภาวะนี้จากประวัติเสี่ยง เช่น ใช้ยาเสพติด หรือสงสัยจาก laboratory เช่น urine blood (+) แต่ไม่มี RBC (พบแค่ช่วง 1-6 ชั่วโมงแรก)

Dx: CPK > 5x UNL โดยไม่มี cardiac หรือ brain injury (ถ้าไม่มี ongoing muscle necrosis จะ peak ที่ 24-72 ชั่วโมง แล้วจะลดลงวันละ 39% เทียบกับวันก่อน)

Ix: CBC, BUN, Cr, electrolytes, Ca, PO4, PT, aPTT, fibrinogen, uric acid, LDH, aldolase, AST, UA

Tx:
  • Prehospital care: ในรายที่สงสัย rhabdomyolysis (crash injury, prolong extrication) รีบให้ IV resuscitation ทันที (NSS 1 L/h IV สลับกับ 5%D/NSS 1 L/h)
  • รีบแก้ fluid deficit ก่อน หลังจากนั้นให้ NSS 2.5 mL/kg/h IV โดย monitor ให้ U.O > 2 mL/kg/h
  • Urine alkalization ยังไม่มี prospective controlled studies ที่แสดงว่าได้ประโยชน์ (ในทางทฤษฎีช่วยป้องกัน toxic effect ของ myoglobin ต่อ kidney ได้เมื่อ urine pH > 5.6) ตัวอย่างการให้ เช่น 7.5% NaHCO3 50ml + NSS/2 1L หรือ 7.5% NaHCO3 100-150ml + 5DW drip 100 mL/h โดยระวังไม่ให้เกิด metabolic alkalosis และ hypokalemia
  • Monitor ECG ใน 24-48 ชั่วโมงแรก, UO; serial urine pH, electrolytes, CPK, Ca, PO4, BUN, Cr
  • Monitor complication: renal failure, metabolic abnormality (K, Ca, PO4, uric acid), DIC, compartment syndrome, peripheral neuropathy

Disposition: ใน exertional rhabdomyolysis ที่ไม่มีภาวะอื่นๆร่วมด้วย (heat stress, dehydration, trauma) โอกาสเกิด ARF น้อยมาก สามารถรักษาเป็น OPD case ได้ โดยให้ PO หรือ IV rehydration


Ref: tintinalli ed8th

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น