วันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2559

Pediatric: Ear emergencies

Pediatric: Ear emergencies

Acute otitis media (AOM)
  • พบบ่อยรองจาก URI อุบัติการณ์สูงสุดช่วงอายุ 6-18 เดือน
  • Dx
    • Moderate-severe bulging ของ TM
    • Mild bulging ของ TM + (Ear pain < 48 ชั่วโมง หรือ intense erythema ของ TM)
    • New onset of otorrhea โดยที่ไม่มี otitis externa หรือ FB
  • ถ้ามี cerumen impact อาจ remove ด้วย soft speculum หรือหยอด docusate 1 mL ทิ้งไว้ 15 นาทีแล้ว irrigate ด้วยน้ำอุ่น
Tx:
  • Pain control แนะนำให้ ibuprofen 10 mg/kg PO PRN q  6 h และ paracetamol 15 mg/kg PO PRN q 4 h; อาจให้ 2% lidocaine 2-3 drops ใส่ cotton เล็กๆไว้ใน external ear canal PRN q 1-2 h (ห้ามให้ถ้ามี TM perforation)
  • ในเด็กที่สุขภาพแข็งแรง และมีอาการไม่รุนแรงพิจารณาให้สังเกตอาการ 48-72 ชั่วโมง โดยไม่ต้องให้ ATB
  • ATB แนะนำให้ใน ทารก < 6 เดือน, อาการรุนแรง (ปวดมาก เป็นนาน > 48 ชั่วโมง ไข้ > 390C), เด็ก < 2 ปีที่เป็น bilateral AOM, เป็นซ้ำใน 2-4 สัปดาห์, TM perforation หรือ myringotomy, craniofacial abnormalities, immunocompromised, หรือปฏิเสธที่จะสังเกตอาการ
  • ATB: amoxicillin 40-45 mg/kg/dose PO BID x 5-10 วัน (ถ้าเคยไม่ตอบสนองต่อ amoxicillin หรือเคยได้ภายใน 30 วัน หรือมี purulent conjunctivitis ร่วมด้วยให้ augmentin แทน), ceftriaxone 50 mg/kg IM/IV x 1-3 วัน, cefdinir 7 mg/kg/dose PO BID x 5-10 วัน, cefuroxime, cefpodoxime, clindamycin 10 mg/kg/d PO TID x 5-10 วัน; Myringotomy tube หยอด ofloxacin otic drop 5 gtts BID x 5-10 วัน
  • หลังให้ ATB จะยังมีไข้และปวดหูต่ออีก 24-48 ชั่วโมง ถ้าอาการยังคงอยู่หลัง 72 ชั่วโมง ต้องประเมินใหม่ อาจเปลี่ยน ATB เป็น augmentin หรือ ceftriaxone ถ้ายังไม่ดีขึ้นให้ consult ENT หรือให้เป็น clindamycin + ceftriaxone

Otitis media with effusion (OME)
  • ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ อาจมีอาการปวดหูเล็กน้อยเป็นพักๆ หูอื้อ popping sensation; ตรวจจะพบ cloudy TM และมักเห็น effusion (bubbles หรือ air-fluid level)
  • Tx: ไม่ต้องรักษา ในรายที่เป็นนาน > 3 เดือน หรือทำให้เกิด hearing loss หรือ language delay ให้นัดพบ ENT

Acute otitis externa
  • Dx: ประกอบด้วยอาการ (otalgia, itching, fullness) และอาการแสดง (tragus/pinna tenderness, diffuse ear canal edema/erythema) เกิดขึ้นภายใน 48 ชั่วโมง
Tx:
  • Pain control: Ibuprofen; Dry mopping ด้วย cotton-tipped wire applicator
  • Topical FU (ofloxacin, ciprofloxacin) นอนตะแคงหยอด 2-4 หยอด ขยับใบหูไปมา ทิ้งไว้ 5 นาที ในรายที่บวมมากอาจใส่ ear wick ทิ้งไว้ 3 วัน
  • ในรายที่การติดเชื้อลามไปนอก ear canal (เช่น mastoiditis, cellulitis, malignant otitis externa: fever > 38.9°C, severe otalgia +/- facial paralysis, meningeal signs) หรือเป็น immunocompromised ให้ systemic ATB (ceftazidime 50 mg/kg IV q  8 h + methicillin 50 mg/kg/dose q 6 h)
  • ถ้าอาการไม่ดีขึ้นใน 48-72 ชั่วโมง ให้พิจารณาการวินิจฉัยใหม่ งดว่ายน้ำจนกว่าจะหาย
  • ป้องกันการเป็นซ้ำ ช่วงเสี่ยง (ต้องว่ายน้ำ) ให้หยอดยาป้องกัน เช่น 2% acetic acid (VoSoL) 2-4 drop TID-QID

Acute mastoiditis
  • อุบัติการณ์สูงสุดที่อายุ 12-36 เดือน
  • มีอาการของ AOM ร่วมกับมีการบวมแดงบริเวณหลังใบหู ทำให้ใบหูกางออก อาจมี CN VI, VII palsies; ภาวะแทรกซ้อน เช่น intracranial abscess, meningitis, otitic hydrpcephalus (IICP จาก transverse sinus thrombosis)
  • Ix: CT mastoid, H/C
  • Tx: consult ENT; Piperacillin-tazobactam + vancomycin then switch to narrow spectrum

Ear FB
  • ส่วนใหญ่พบในเด็กอายุ 4-8 ปี
  • ถ้าเป็นแมลงที่ยังมีชีวิตให้หยอด mineral oil เพื่อฆ่าแมลงก่อน
  • Remove FB อาจใช้ alligator forceps, ear curette, suction, irrigation ตามความเหมาะสม
  • ถ้ามีการอักเสบหลัง remove FB ให้ topical ATB-hydrocortisone otic drop ช่วงสั้นๆ


Ref: Tintinalli ed8th

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น