Compartment syndrome
เกิดเมื่อมีการเพิ่มขึ้นของความดันภายใน closed
fascial space เป็นเวลานาน ซึ่งอาจเกิดจาก volume
ภายใน
compartment เพิ่มมากขึ้น (hemorrhage,
edema จาก reperfusion injury) หรือเกิดจากขนาดของ
compartment ลดลง (cast,
tight dressing) ถ้า delta
pressure (ความแตกต่างระหว่าง dBP
กับ
intracompartmental pressure) < 10-35 mmHg ติดต่อกันหลายชั่วโมง
(muscle 3-4 h, nerve 2 h)
จะทำให้เกิด cell death ได้
โดยปกติจะวินิจฉัย acute
compartment syndrome เมื่อ delta
pressure < 30 mmHg
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
- อาจมีประวัติ trauma (เช่น crush injury, tibial fracture) หรือไม่มีประวัติ direct trauma (เช่น rhabdomyolysis, hemophilia)
- มีอาการปวดรุนแรงใน compartment นั้นๆ มีลักษณะตึงแน่น เมื่อบีบหรือทำ active/passive stretching จะปวดมากขึ้น อาจมี numbness, dysesthesia; ตรวจ distal pulse, color, temperature จะปกติ
Invasive compartment pressure
monitoring
ข้อบ่งชี้:
เพื่อเป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจ
ในรายที่สงสัย compartment syndrome แต่อาการและอาการแสดงบอกได้ไม่ชัดเจน
เช่น ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว เด็ก คนที่ไม่ร่วมมือ คนที่บาดเจ็บหลายตำแหน่ง มี peripheral
nerve deficit เป็นต้น
ข้อห้าม:
ไม่มีข้อห้าม
แต่ควรระวังใน platelet dysfunction หรือ
coagulation disorders
วิธีการ
- ทำ local
anesthesia (เฉพาะ skin),
systemic analgesia, หรือ procedural
sedation
- จัดท่าให้ตำแหน่งที่จะวัดอยู่ระดับเดียวกับหัวใจ และสามารถแทงเข็มตั้งฉากไปที่ compartment ที่ต้องการได้
- เตรียมอุปกรณ์ โดยปกติจะใช้ 18-gauge needle (หรือ 18-guage spinal needle ใน deep posterior compartment ของ leg และ gluteus) หรือ side-port needle (Stryker) แต่ก็มีการศึกษาพบว่าการใช้ 25-guage needle ก็สามารถวัดได้ค่าที่ถูกต้องเช่นเดียวกัน
- Mercury manometer system (ความน่าเชื่อถือน้อยกว่า
Stryker)
- 18-gauge needle ต่อกับ extension tube, 3-way stopcock, และ 20-mL syringe (ดูดอากาศไว้) เรียงไปตามลำดับ
- แทงเข็มเข้าไปที่ vented vial ของ sterile saline แล้วดูด saline เข้ามาใน tube ประมาณครึ่งหนึ่ง ระวังอย่าให้มีฟองอากาศ ปิด 3-way stopcock เพื่อไม่ให้ saline ไหลออกตอนแทงเข็ม
- แทงเข็มเข้าไปใน compartment ที่ต้องการ
- ต่อ extension อีกอันระหว่าง monitoring กับ port ของ 3-way stopcock แล้วหมุน stopcock เปิดทั้งสามทาง
- ค่อยๆเพิ่มแรงดันโดยกดกระบอก syringe ลงช้าๆ ดู column ของ saline และ pressure ของ manometer เมื่อ pressure ที่กดสูงกว่า compartment pressure จะทำให้ column ของ saline เคลื่อนเข้าไปหา compartment ให้อ่าน pressure ของ manometer ที่จุดนั้น
- ถอนเข็มออกแล้วทำซ้ำอีกรอบหนึ่ง
- Arterial line system
- ต่อ
transducer cable กับ
pressure monitor
- ประกอบ transducer cable, transducer, stopcock, syringe, high-pressure tubing, และ needle เข้าด้วยกันเรียงไปตามลำดับ
- ใช้
syringe ดูด saline
15 mL แล้วต่อ stopcock แล้วหมุนเปิดให้
saline เข้าไปใน transducer,
high-pressure tubing, และ needle
แล้วปิด
stopcock ด้าน high-pressure
tubing
- เปิด stopcock ด้านบนสู่อากาศ แล้วยก transducer ให้สูงเท่ากับ compartment ที่จะวัด แล้วทำการ calibrate transducer ให้เป็น “0” แล้วปิด stopcock ด้านบน
- เปิด
stopcock ด้านที่ต่อกับ high-pressure
tubing
- แทงเข็มเข้าไปใน muscle compartment ให้ลองบีบหรือขยับกล้ามเนื้อจะทำให้เกิด pressure spike ที่ monitor แสดงว่าตำแหน่งเหมาะสม รอหลายๆวินาทีให้ได้ pressure ที่คงที่
- ถอนเข็มออกแล้วทำซ้ำอีกรอบหนึ่ง
- Stryker intra-compartment pressure monitor
- ต่อ needle with side port เข้ากับ tapered stem ของ diaphragm chamber แล้วต่อกับ prefilled 3 mL syringe แล้วประกอบเข้ากับตัวเครื่องให้ diaphragm สีดำชี้ลงล่าง
- เอียงเข็มขึ้น 45o ค่อยๆดัน saline เพื่อไล่อากาศออกไป
- กดเปิดเครื่อง
จะขึ้นค่า pressure ระหว่าง
0-9 mmHg
- จับเครื่องในมุมที่จะแทงเข็ม แล้วกดปุ่ม “ZERO” จะมี “00” ขึ้นที่หน้าจอ
- แทงเข็มให้ตั้งฉากกับผิวหนัง แล้วฉีด saline < 0.3 mL ช้าๆ
- รอจนหน้าจอได้ค่าที่คงที่ ตรวจซ้ำอีกครั้ง โดยต้อง calibrate ซ้ำในแต่ละครั้ง
Compartment
|
Painful
passive motion
|
Compartment
measure site
|
Forearm
|
||
Dorsal
|
Digital
flexion
|
จัด
forearm
ในท่า
pronation
และ
elbow
flexion; ระหว่าง
proximal-middle
thirds; 1-2 ซม.
lateral ต่อ
posterior
aspect ของ
ulna
แทงเข็มลึก
1-2
ซม.
|
Volar
|
Digital/wrist
extension
|
จัด
forearm
ในท่า
supination;
ระหว่าง
proximal-middle
thirds; medial ต่อ
palmaris
longus ชี้เข็มไปที่
posterior
border ของ
ulna
ลึก
1-2
ซม.
|
Lateral
(mobile wad)
|
Wrist
ulnar deviation
|
จัด
forearm
ในท่า
supination;
ระหว่าง
proximal-middle
thirds; ส่วน
lateral
ที่สุดของ
forearm
แทงเข็มลึก
1-1.5
ซม.
|
Leg
|
||
Anterior
|
Toe
flexion, plantar flexion
|
ระหว่าง
proximal-middle
thirds; 1 cm lateral ต่อ anterior border ของ tibia
ลึก
1-3
ซม.
|
Superficial
posterior
|
Foot
dorsiflexion
|
ระหว่าง
proximal-middle
thirds; 3-5 cm จาก
midline
ชี้เข็มไปกลางขา
ลึก 2-4
ซม.
|
Deep
posterior
|
Toe
extension, ankle eversion
|
ระหว่าง
proximal-middle
thirds; หลังต่อ
medial
border ของ tibia
ชี้เข็มไปที่
posterior
border ของ
fibula
ลึก
2-4
ซม.
|
Lateral
|
Foot/ankle
inversion
|
ระหว่าง
proximal-middle
thirds; หน้าต่อ
posterior
border ของ
fibula
ชี้เข็มไปทาง
fibula
ลึก
1-1.5
ซม.
|
Gluteal
|
Hip
flexion
|
นอนคว่ำ
แทงเข็มในจุดที่เจ็บมากที่สุด (ตำแหน่งที่แนะนำ คือ สูงระดับประมาณครึ่งหนึ่งของ
sacrum
วัดตรงกลาง
[maximus],
เยื้องมาด้านข้าง
[medius/minimus],
และด้านข้าง
[tensor]) ลึก 4-8 ซม.
(spinal needle)
|
Foot
|
||
Medial
|
ด้าน
medial
ใต้ต่อ
base
ของ
1st
MT ภายใน
abductor
halluces muscle ลึก 1-1-1.5 ซม.
|
|
Central
(calcaneal)
|
ด้าน
medial
ใต้ต่อ
base
ของ
1st
MT ผ่าน
abductor
halluces muscle ลึก 3 ซม.
|
|
Lateral
|
ด้าน
lateral
ใต้ต่อ
base
ของ
5th
MT แทงเข็มขนานกับ
plantar
surface ลึก
1-1.5
ซม.
|
|
Intrinsic
(interosseous)
|
ด้าน
dorsum
ของ
2nd
และ
4th
web space ที่
base
ของ
MT
ลึก
1 ซม.
|
Dx:
MAP – compartment pressure < 30 mmHg มี
accuracy ดีกว่าวิธีอื่น (หรือใช้
DBP – compartment pressure < 30 mmHg มี
specificity สูงกว่า)
Tx:
- O2 supplement, BP support (แก้ไขภาวะ hypotension), remove cast/dressing, จัดให้แขนขาที่เป็นอยู่ในระดับหัวใจ
- Hemophilia หรือ
on anticoagulant ให้
factor replacement
- Surgical fasciotomy; **ถ้าเป็นนาน > 24-48 ชั่วโมง อาจเกิด permanent damage ไปแล้ว การทำ fasciotomy อาจไม่ได้ประโยชน์
Ref:
Tintinalli ed8th, Robert Clinical Procedure
ข้างบนต้อง delta pressure < 30 ไหมครับ อาจารย์ ACS
ตอบลบขอบคุณมากครับ delta pressure < 30
ลบ