Skull Trephination (burr hole)
ข้อบ่งชี้
- Acute epidural hematoma (หรือสงสัย
แม้จะไม่มี CT) ร่วมกับมี signs
ของ
brain herniation (GCS drop, anisocoria, hemiparesis) ซึ่งไม่ตอบสนองต่อการรักษาอื่นๆ
(ดูตารางด้านล่าง)
และไม่สามารถทำ
definite neurosurgical care ได้
(เช่น อยู่ในพื้นที่ห่างไกล)
ข้อห้าม
- Parietal หรือ
occipital epidural hematoma เพราะตำแหน่งนี้จะเสี่ยงต่อ
hemorrhage และ air
embolism เนื่องจากใกล้กับ dural
venous sinuses จึงแนะนำให้ทำเฉพาะ temporal
epidural hematoma
- Subdural hematoma เพราะต้องกรีดเปิด
dura matter
วิธีการ
- ด้านที่จะทำคือด้านที่มี pupillary
dilatation และตรงข้ามกับฝั่งที่มี motor
paresis ตำแหน่งเหนือต่อรูหู 2
ซม.และหน้าต่อรูหู
2 ซม.
ให้
shave และทำความสะอาดด้วย chlorhexidine
หรือ
betadine
- ทำ blind
approach หรือดูตามผล CT
กรีดในแนว
vertical ยาว 4
ซม.
ผ่าน
skin จนถึง periosteum
- ใส่ self-retaining
scalp retractor ให้มีพื้นที่กว้างประมาณ 2.5
ซม.
- ใช้ periosteal
elevator (ถ้ามี)
ยก periosteum ขึ้นจาก skull
- วาง trephine
หรือ
hand drill ให้ตั้งฉากกับ skull
กดและหมุนทวนเข็มสลับกับตามเข็มกลับไปมาจนทะลุ
skull คีบเอาชิ้น skull
ที่โดนเจาะแช่ลงใน
saline
- Epidural blood และ
clots มักจะพุ่งออกมา อาจต้องใช้
suction catheter ถ้าเห็น
bleeding artery อาจ clamp
ไว้
- ประเมินการตอบสนองของผู้ป่วยทันที
ถ้าไม่ดีขึ้นอาจต้องทำซ้ำอีกข้าง
|
ถ้าไม่มี burr hold bit อาจใช้ 1/2-inch steel drill แทน |
|
Vertical incision |
การรักษา
IICP
- Oxygen supplement ในรายที่มี
hypoxia
- Intubation ในรายที่
GCS
< 9 หรือ
impending
respiratory failure โดยทำ RSI ดังนี้
- Preoxygenation
- Pretreatment ให้ lidocaine
1-1.5 mg/kg, fentanyl titrate (3 mcg/kg โดยไม่ทำให้ BP
drop) 3 นาทีก่อน
intubation
- Induction agents แนะนำให้ etomidate
0.3 mg/kg IV หรือ
propofol 1 mg/kg (แต่ระวังการเกิด hypotension)
- Paralytic agents ให้ succinylcholine,
หรือ
nondepolarizing
agents ตัวอื่น
ถ้ามีข้อห้ามของ succinylcholine
- Oxygenation เริ่มจาก
FiO2
1.0 เพื่อให้
O2
sat > 90%; Ventilation ให้ keep eucapnia
(PCO2 35-40 mmHg) ยกเว้นว่ามี signs ของ brain
herniation (anisocoria, hemiparesis, asymmetric posturing, Cushing’s reflex,
rapid GCS drop) ให้ทำ hyperventilation (PCO2 28-35
mmHg) ในระหว่างรอ
surgical
intervention
- Head elevation 30o โดยที่ MAP ต้องสูงกว่า 90
mmHg
จัดคอให้ตรงไม่ให้กด jugular vein
- Keep euvolumia ให้ IV
NSS หรือ
hypertonic
saline (ปกติผู้ป่วยมักจะ
hypovolemia จาก bleeding,
vomiting, poor intake หรือมี distributive
shock จากการ
loss
ของ
vasomotor
sympathetic tone); ให้ vasopressor เพื่อให้ได้ CPP
60 mmHg และ
MAP
> 90 mmHg
- Diuresis ให้ mannitol
0.25-1 g/kg IV bolus ทุก 2-6 ชั่วโมง
ในรายที่มี signs
ของ
impending
transtentorial herniation; ห้ามให้ถ้ามี SBP < 90 mmHg
ซึ่งถ้ามี
hypotension
จะให้
3%
saline 100-250 mL IV bolus แทน
- Seizure prophylaxis ในรายที่มี
seizure
หรือเป็น
traumatic brain injury ได้แก่ phenytoin,
fosphenytoin, levetiracetam
- Steroids ในรายที่เป็น
vasogenic
edema (brain tumor) ให้ dexamethasone 10-20 mg IV loading then
4-10 mg ทุก
6
ชั่วโมง
- Glucose หลีกเลี่ยง hyper
หรือ
hypoglycemia
- Temperature หลีกเลี่ยง
hyperthermia
|
Ref:
Robert Clinical Procedure
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น