HIV non-occupational Post-Exposure
Prophylaxis (HIV nPEP)
ข้อบ่งชี้ในการให้ HIV nPEP
Investigation
ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
|
**กรณีเข็มตำ ถ้าเลือดที่ติดอยู่เป็นเลือดที่แห้งหรือเข็มที่ตำเป็นเข็มที่ทิ้งแล้ว
มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อต่ำมาก
ข้อบ่งชี้ในการให้ HIV nPEP
- การสัมผัสมีความเสี่ยงสูง ได้แก่
- มีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักและทางช่องคลอด ทั้งเป็นฝ่ายรับและฝ่ายรุกโดยไม่ใช้ถุงยางหรือถุงยางแตก รวมกรณีถูกข่มขืน และการมีเพศสัมพันธ์กับหญิง/ชายบริการทางเพศ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่น
- การได้รับบาดเจ็บ ได้แก่ ถูกเข็มกลวงตำนอกสถานพยาบาล หรือประสบอุบัติเหตุที่มีการสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งที่มีโอกาสถ่ายทอดเชื้อ HIV สูง
- การสัมผัสมีความเสี่ยงต่ำลงมา เช่น การมีเพศสัมพันธ์โดยใช้ปากกับองคชาต หรือ ปากกับช่องคลอด หรือ ปากกับทวารหนัก ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรับหรือรุก ร่วมกับมีปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการติด HIV ได้แก่
- Source เป็น HIV positive + VL > 1,500 copies/mL
- เยื่อบุช่องปากมีรอยโรค เป็นแผล หรือมีเหงือกอักเสบ
- สัมผัสเลือดซึ่งมองเห็นได้
- มีโรคที่ทำให้เกิดแผลที่อวัยวะเพศหรือมีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ
**การใช้ผลการติดเชื้อ HIV ของ source มาตัดสินใจว่าจะให้ผู้สัมผัสรับ
nPEP หรือไม่ ให้พิจารณาเป็นรายๆไป
Investigation
- Exposure: Anti-HIV, CBC,
Cr, ALT, HBsAg, Anti-HBs, Anti-HCV, UPT
- Source: Anti-HIV; คัดกรองหา STIs ได้แก่ VDRL หรือ RPR,
GC, Chlamydia
**2
ตรวจ
anti-HIV ในรายที่
anti-HCV positive ที่ 6
เดือน
เพราะพบ delayed HIV seroconversion ได้;
3-5 ตรวจเมื่อมีอาการสงสัย เช่น anti-HIV
ถ้ามีไข้
ต่อมน้ำเหลืองโต ผื่น หรือตรวจ CBC, Cr, SGPT ถ้ามี
N/V ผื่น หรือตรวจ HBsAG
ถ้ามีอาการของ
acute hepatitis; 6 ตรวจ
HBsAg และ anti-HCV ถ้าแหล่งโรคมี
hepatitis B หรือ C;
7 ถ้าทราบว่าเป็น positive
มาก่อนไม่ต้องตรวจซ้ำ;
8 ตรวจหา STIs อื่นๆด้วยตามอาการ;
9 กรณีเป็น syphilis และรับการรักษา;
10 กรณีครั้งแรกเป็น negative
แนวทางการจัดการ
- ถ้ามีข้อบ่งชี้ในการให้ HIV nPEP ให้เริ่มยาเร็วที่สุด (< 1-2 ชั่วโมง) ไม่เกิน 72 ชั่วโมงหลังสัมผัส และต้องกินยาจนครบ 4 สัปดาห์ ถ้ามีความเสี่ยงซ้ำในสัปดาห์สุดท้ายที่ให้ยา nPEP แนะนำให้ยาเพิ่มอีก 1 สัปดาห์
- ติดต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญภายใน 3 วัน
สูตรยา
- สูตรแนะนำ TDF (Tenofovir) 300 mg + 3TC (Lamivudine) 300 mg วันละครั้ง หรือ TDF 300 mg/FTC 200 mg (Tenofovir/Emtricitabine) วันละครั้ง ร่วมกับ
- RPV (Rilpivirine) 25 mg วันละครั้ง [กินพร้อมอาหาร]
- ATV/r (Atazanavir/ritonavir) 300/100 mg วันละครั้ง
- LPV/r (Lopinavir/ritonavir) 400/100 mg ทุก 12 ชม. หรือ 800/200 mg วันละครั้ง [ห้ามใช้ร่วมกับ ergotamine]
- DRV/r (Darunavir/ritonavir) 800/100 mg วันละครั้ง
- สูตรทางเลือก TDF 300 mg + 3TC 300 mg วันละครั้ง หรือ TDF 300 mg/FTC 200 mg วันละครั้ง ร่วมกับ
- RAL (Raltegravir) 400 mg ทุก 12 ชม.
- DTG (Dolutegravir) 50 mg วันละครั้ง
- EFV (Efavirenz) 600 mg วันละครั้ง [ห้ามใช้ร่วมกับ ergotamine]
- ถ้า CrCl < 60 mL/min ให้ AZT 300 mg ทุก 12 ชั่วโมง แทน TDF ในสูตรแนะนำหรือทางเลือก
การรักษาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- Post-exposure hepatitis B prophylaxis ควรให้ภายใน
12
ชั่วโมง
ถ้าไม่เคยได้ HBV
vaccine มาก่อนให้หรือเคยได้รับ
vaccine
แต่ตรวจไม่พบ
Anti-HBs
ให้
HBV
vaccination (0,1,6)
- ถ้าทราบว่า source เป็น HBV แนะนำให้ HBIG x
1 dose
- ถ้าเคยฉีด vaccine มาก่อน และเป็น non-responder ให้ HBIG แทน 2 ครั้งห่างกัน 1 เดือน
- Emergency contraception โดยเร็วที่สุด ภายใน 5 วัน
- Tetanus immunization ตามเกณฑ์
- Empirical ATB สำหรับ STDs
(Ceftriaxone 500 mg IM หรือ cefipime 400 mg IM single dose +
Metronidazole 2 g PO single dose + Azithromycin 1 g PO single dose หรือ
Doxycycline 100 mg PO bid for 7 d)
Ref:
Thailand National Guidelines on HIV/AIDS Treatment and Prevention 2017; WHO 2014, CDC 2005
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น